Welcome to Thailand

Vietnam

วันพฤหัสบดีที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2555

รายงานสรุปโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพชุมชนเปิดประตูสู่อาเซียน ปีการศึกษา ๒๕๕๔


 






รายงานสรุปโครงการบริการทางวิชาการแก่สังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพชุมชนเปิดประตูสู่อาเซียน
ปีการศึกษา ๒๕๕๔















สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
คำนำ

          รายงานผลการดาเนินโครงการบริการวิชาการแก่สังคมประจาปีการศึกษา พ.. ๒๕๕๔ การอบรมภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพชุมชนเปิดประตูสู่อาเซียน ซึ่งจัดขึ้นวันที่ ๑๖-๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕ ณ ห้องประชุม ๑๑๓๑ อาคารสมเด็จเจ้าพระยาบรมหาประยูรวงศ์  โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการเป็นบุคคลทั่วไปและนักศึกษาในเขตชุมชนรอบรั้วมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา โครงการนี้จัดขึ้นเพื่อสร้างเสริมความมั่นใจและเทคนิคการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับชาวต่างประเทศของผู้เข้าร่วมโครงการในโอกาสการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปี ๒๕๕๘
          ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยราชบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ที่สนับสนุนงบประมาณโครงการ และหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานผลการดำเนินงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่สังคมต่อไป ตามแผนนโยบายการบริการทางวิชาการแก่สังคมของแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ ประจำปี ๒๕๕๔ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ


 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา




















สารบัญ
         
                                                                                                          หน้า

คำนำ            
สารบัญ
รายงานสรุปโครงการ                                                                                   
ผลการประเมินโครงการ                                                                                
ภาคผนวก                                                                                               
          ภาคผนวก ก   โครงการที่ได้รับการอนุมัติพร้อมคำสั่ง                                      
          ภาคผนวก ข   ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าอบรม                                                  ๑๓    
          ภาคผนวก ค   ประมวลภาพกิจกรรม                                                          ๑๘
คณะผู้จัดทำ                                                                                            ๑๙

























รายงานสรุปโครงการ

. ชื่อโครงการ ภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพชุมชนเปิดประตูสู่อาเซียน

. หน่วยงานรับผิดชอบ
          สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

. ผู้รับผิดชอบโครงการ
          คณาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
) ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด   ประธานสาขาวิชา
) นางสาวพัฐฬภรณ์ พรชุติ
) นางสาวสายสุนีย์ อุลิศ
) นางสาวสายฝน ทรงเสี่ยงไชย
) นายธานินทร์ คงอินทร์
) นางสาวอธิษฐาน ศรีลานุช
๗) นายเอษณ ยามาลี
๘) Mr.Gregory Alan Bickel

. โครงการตอบสนองความต้องการของชุมชน อ้างอิงตาม
£ข้อมูลพื้นฐานของชุมชน
£การทำเวทีประชาคมจากตัวแทนชุมชนในเขตมหาวิทยาลัย
Rการสำรวจ
£อื่นๆ (โปรดระบุ)

. ลักษณะโครงการบริการวิชาการแก่สังคม
£ การประกวด/แข่งขัน
R การฝึกอบรม สัมมนา อภิปราย บรรยาย ประชุมเชิงปฏิบัติการ
£ การวิเคราะห์ การตรวจสอบ การทดสอบ การสอบเทียบ การประเมินผล และการแปล
£ การจัดนิทรรศการ (เผยแพร่งานวิจัย งานสร้างสรรค์ งานวิชาการที่เกี่ยวข้อง)
£ การให้บริการห้องประชุม เครื่องมือ อุปกรณ์ต่าง ๆ
£การให้คาปรึกษา ข้อเสนอแนะ การให้บริการข้อมูล การศึกษาผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม
£ การสอนหลักสูตรพิเศษเพื่อรับประกาศนียบัตร
£ การวางแผน การวางระบบ การออกแบบ การประดิษฐ์ หรือการผลิต
£ การจัดโครงการเชิงพัฒนา (สร้างเครือข่ายชุมชน)
£ การให้บริการในลักษณะอื่น ๆ (ระบุ) จัดนิทรรศการ


 
. วัตถุประสงค์
          เพื่อให้ประชาชนที่ประกอบอาชีพต่างๆ ในชุมชนสามารถสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้

. หลักสูตรบูรณาการโครงการบริการวิชาการ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
     รหัสวิชา ๑๐๐๓๒๑๖ ชื่อวิชา ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางวัฒนธรรม

. วันที่จัดกิจกรรมโครงการ วันที่ ๑๖-๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๕

. ระยะเวลาดำเนินโครงการ
          R ตรงตามแผนการบริการวิชาการ         £ ไม่ตรงตามแผนการบริการวิชาการ

๑๐. สถานที่ดาเนินโครงการ
          อาคารสมเด็จเจ้าพระยาบรมหาประยูรวงศ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

๑๑. งบประมาณ ได้รับจัดสรร ๔๒,๕๐๐ บาท

๑๒. กลุ่มเป้าหมายของผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๔๐ คน ประกอบด้วย
กลุ่มเป้าหมาย
ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้ (คน)
ค่าเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ (คน)
ประชาชนที่ประกอบอาชีพช่างเสริมสวย
ประชาชนที่ประกอบอาชีพนวดแผนไทย
ประชาชนที่ประกอบอาชีพค้าขาย
ประชาชนที่ประกอบอาชีพมอเตอร์ไซค์รับจ้าง
เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย
เจ้าหน้าที่รักษาความสะอาด
บุคคลที่สนใจ
๑๐
๑๐
รวม
๔๐
๔๐

๑๓. ผลที่ได้รับตามเป้าหมายตัวชี้วัดความสำเร็จ
ตัวชี้วัดความสำเร็จ /
ค่าเป้าหมาย
ค่าเป้าหมายที่ตั้งไว้
ค่าเป้าหมายที่ได้รับ
ระดับความสำเร็จ
มากกว่าร้อยละ ๘๐ = ดีมาก
ร้อยละ ๗๐-๗๙ = ดี
ร้อยละ ๖๐ ๖๙ = ปานกลาง
ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ = ปรับปรุง
หมายเหตุ
เป้าหมายเชิงปริมาณ
๑.จำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
ร้อยละ ๖๐
ปานกลาง
Output
เป้าหมายเชิงคุณภาพ
๑.ความรู้ที่เพิ่มขึ้นจากการทดสอบก่อนและหลังการจัดโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
ร้อยละ ๑๐๐
ดีมาก
Output
๒.ความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่า ๔.๐๐ และไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
ร้อยละ ๘๘.๑๓
ดีมาก
Output
๓.การนำความรู้ไปใช้
 
ประโยชน์ของผู้เข้าร่วมโครงการ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐
ร้อยละ ๑๐.๓๓
ดีมาก
Output

๑๔. สรุปผลการดำเนินโครงการ
          โครงการภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพชุมชนเปิดประตูสู่อาเซียนมีผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นนักเรียน เยาวชน และประชาชนทั่วไปในเขตมหาวิทยาลัย โครงการนี้จัดขึ้นเพื่อสร้างเสริมความมั่นใจและเทคนิคการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษกับชาวต่างประเทศของผู้เข้าร่วมโครงการในโอกาสการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน                     ปี๒๕๕๘  ซึ่งจากการทดสอบก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการจะเห็นได้ว่ามีคะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นเท่ากับ ๒.๐๔ คะแนน คิดเป็นร้อยละ ๑๙.๔๘ โดยหากพิจารณาจากระดับคะแนนที่เพิ่มขึ้น ๒.๐๔ คะแนน อาจจะเห็นได้ว่า มีคะแนนเพิ่มขึ้นเพียงเล็กน้อย ทั้งนี้ อาจเนื่องมาจากแบบทดสอบความรู้ที่ผู้จัดโครงการได้จัดทำขึ้นเป็นแบบทดสอบระดับมัธยม แต่ผู้ร่วมโครงการครั้งนี้เป็นนักเรียนในระดับชั้นประถมคิดเป็นร้อยละ ๖๖.๖ ซึ่งทาให้คะแนนก่อนเข้าร่วมโครงการมีระดับที่ต่ำและประกอบกับการให้ความรู้กับนักเรียนมีระยะเวลาที่จากัด (๒ วัน) ระยะเวลาดังกล่าวทาให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ไม่เต็มที่ ดังนั้นควรมีการให้ความรู้กับผู้เข้าร่วมโครงการอย่างต่อเนื่องหรือเพิ่มเวลาในการจัดโครงการให้มากขึ้นเพื่อจะให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีผลสัมฤทธิ์ทางความรู้มากขึ้น เพื่อจะนำความรู้ที่ได้ไปศึกษาและปฏิบัติ

          การวิเคราะห์แบบสำรวจความพึงพอใจและข้อคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพชุมชนเปิดประตูสู่อาเซียน
ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าร่วมโครงการ
          ข้อที่ ๑ มีผู้เข้าร่วมโครงการ จานวน ๕๐ คน แบ่งเป็น
เพศชาย ๒๖ คน คิดเป็นร้อยละ ๕๒
เพศหญิง ๒๔ คน คิดเป็นร้อยละ ๔๘

ข้อที่ ๒ ผู้เข้าร่วมโครงการอยู่ในพื้นที่เขตมหาวิทยาลัย จานวน ๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
ข้อที่ ๓ ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบอาชีพ เป็น
นักมวย                              จำนวน ๕  คน   คิดเป็นร้อยละ ๑๐
                             แม่บ้าน                              จำนวน ๓  คน   คิดเป็นร้อยละ ๖
                             เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย      จำนวน ๔   คน  คิดเป็นร้อยละ ๘
                             พนักงานบริษัท                      จำนวน ๕   คน  คิดเป็นร้อยละ ๑๐
                             มอเตอร์ไซค์รับจ้าง                  จำนวน ๒๒ คน  คิดเป็นร้อยละ ๔๔
                             ค้าขาย                               จำนวน ๕   คน  คิดเป็นร้อยละ ๑๐
                             นักเรียน/นักศึกษา                  จำนวน ๖   คน คิดเป็นร้อยละ ๑๒



 
 

ผลการประเมินโครงการ

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจต่อการจัดโครงการลดโลกร้อนกับพลังงานในชีวิตประจาวันและความต้องการรับบริการ
ระดับความพึงพอใจต่อการจัดโครงการภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพชุมชนเปิดประตูสู่อาเซียนและความต้องการ
รับบริการ รายการต่างๆ ดังนี้
ลำดับ
รายการ
S.D.
ความคิดเห็นเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของโครงการ


๑.๑
กิจกรรมสอดคล้องกับความต้องการและวัตถุประสงค์ของโครงการ
๔.๓
๐.๘๙
๑.๒
ได้รับความรู้ แนวคิด ทักษะและประสบการณ์ใหม่ๆ
๔.๑
๐.๘๙
๑.๓
การเข้าร่วมโครงการนี้เสริมสร้างเจตคติและพฤติกรรมในทางที่ดี
๔.๑
๑.๒๒
๑.๔
สามารถนาสิ่งที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการไปประยุกต์ใช้ในการประกอบวิชาชีพ
๔.๒
๐.๘๙
ความคิดเห็นเกี่ยวกับวิทยากร/ทีมผู้ให้ความรู้


๒.๑
มีความรู้ มีประสบการณ์ในเนื้อหาตามวัตถุประสงค์โครงการ
๔.๑
๑.๒๘
๒.๒
มีความสามารถในการบรรยาย ถ่ายทอดความรู้ได้ตรงประเด็นชัดเจน
๓.๘
๑.๒๗
๒.๓
มีความชัดเจนในการตอบข้อซักถาม ให้คำชี้แนะ การเปิดโอกาสให้ซักถามหรือมีส่วนร่วม แสดงความคิดเห็น
๔.๑
๑.๐๙
๒.๔
เทคนิคในการถ่ายทอดเนื้อหา
๓.๙
๑.๐๙
ความคิดเห็นด้านกระบวนการ


๓.๑
การรับรู้ข้อมูลเกี่ยวกับโครงการ
๔.๑
๑.๐๓
๓.๒
การติดต่อประสานงานกับผู้ที่เกี่ยวข้อง
๔.๐
๑.๐๖
๓.๓
ช่วงเวลา/ระยะเวลาในการดำเนินโครงการ
๔.๑
๑.๑๒
๓.๔
ความเหมาะสมของรูปแบบการจัดโครงการ
๓.๙
๑.๒๕
๓.๕
การควบคุมเวลาให้เป็นไปตามกำหนด
๔.๐
๑.๑๖
ความคิดเห็นด้านเจ้าหน้าที่ผู้ให้บริการ


๔.๑
การอานวยความสะดวก รวดเร็วและคล่องตัวในการดำเนินโครงการ
๔.๐
๑.๑๓
๔.๒
ความเอาใจใส่ ดูแล และรับผิดชอบในการดำเนินโครงการ
๔.๐
๑.๐๗
๔.๓
การให้ข้อเตือนสติ ให้คำชี้แนะ/ชี้นาตามจรรยาวิชาชีพวิชาการ
๓.๙
๑.๑๑
๔.๔
การทางานเป็นทีม
๔.๑
๑.๐๖
ความคิดเห็นด้านสิ่งอานวยความสะดวกในการจัดโครงการ


๕.๑
ความเหมาะสมและความพร้อมของสถานที่ในการจัดโครงการ
๔.๓
๑.๓๐
๕.๒
โสตทัศนูปกรณ์มีความพร้อมและเพียงพอต่อการใช้งาน
๔.๒
๑.๒๔
๕.๓
เอกสารประกอบเนื้อหาครอบคลุมตามวัตถุประสงค์การจัดโครงการ
๔.๓
๑.๔๑
๕.๔
ความเหมาะสมของอาหาร/อาหารว่าง
๔.๔
๑.๒๖
ความคิดเห็นด้านผลจากการรับบริการตามโครงการ


๖.๑
ระดับการนาเทคนิค/วิธีการ/กระบวนการที่ได้รับจากโครงการไปประยุกต์ใช้ประโยชน์



·    ต่อตนเอง
๔.๑๘
๑.๓๖

·    ต่อหน่วยงาน/ชุมชน


๔.๒๕
๑.๕๐
ลำดับ
รายการ
S.D.
๖.๒
ระดับการนาเอกสาร/สื่อ/อุปกรณ์ที่ได้รับจากโครงการ ไปประยุกต์ใช้ประโยชน์



·    ต่อตนเอง
๔.๒๖
๑.๓๑

·    ต่อหน่วยงาน/ชุมชน
๔.๓๙
๑.๔๘
๖.๓
ระดับความรู้และความเข้าใจในเนื้อหาตามวัตถุประสงค์โครงการ



·      ก่อนเข้าร่วมโครงการ
๔.๒๕
๑.๔๙

·    หลังเข้าร่วมโครงการ หรือเมื่อสิ้นสุดโครงการ
๔.๐๐
๑.๕๖
๖.๔
ระดับการได้รับบริการที่ตรงตามความต้องการ



·    ต่อตนเอง
๔.๒๗
๑.๓๐

·    ต่อหน่วยงาน/ชุมชน
๔.๒๕
๑.๔๒
ระดับความพึงพอใจต่อการจัดโครงการนี้ โดยภาพรวม
๔.๑๕*
๑.๔๗
ระดับความต้องการที่ท่านคิดว่า คนในชุมชนต้องการรับบริการโครงการนี้ครั้งถัดไป
๔.๔๑
๑.๕๘
 
*หมายเหตุ เมื่อเทียบบัญญัติไตรยางค์ ค่าเฉลี่ย ๕.๐๐ = ร้อยละ ๑๐๐ ดังนั้น ๔.๑๕ จึงเท่ากับ ร้อยละ ๘๓
              ซึ่งสูงกว่าเป้าหมายการบรรลุตามแผนร้อยละ ๘๐

๑๕. ข้อเสนอแนะในการดาเนินโครงการ
๑๕.๑ ควรมีการจัดบริการวิชาการในโครงการนี้ครั้งต่อ ๆ ไป และมีกิจกรรมที่หลากหลาย
๑๕.๒ ควรขยายเวลาในการเข้ากิจกรรมแต่ละฐานให้มากขึ้น





















 
 

















ภาคผนวก


















 
 
















ภาคผนวก ก
โครงการที่ได้รับการอนุมัติพร้อมคาสั่ง


















๑๓
 
 

















ภาคผนวก ข  
      ทะเบียนรายชื่อผู้เข้าอบรม        



















๑๘
 
 


ภาคผนวก ค
ประมวลภาพกิจกรรมโครงการ


                                                                                                                                                                                                                                                               













                                                       
๑๙
 
 

คณะผู้จัดทำ

ที่ปรึกษา
รองศาสตราจารย์ ดร.สุพล วุฒิเสน                              อธิการบดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิพนธ์ เฮงสมบูรณ์                          รองอธิการบดี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประเสริฐ์ ลิ้มสุขวัฒน์                       คณบดีคณะครุศาสตร์
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารีวรรณ เอี่ยมสะอาด                ประธานสาขาวิชาภาษาอังกฤษ   
         
รวบรวมและประมวลผลข้อมูล
นายเอษณ ยามาลี                                               อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
นางสาวพัฐฬภรณ์ พรชุติ                                        อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
นางสาวสายสุนีย์ อุลิศ                                           อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
นางสายฝน ทรงเสี่ยงไชย                                        อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

พิสูจน์อักษร
นางสาวอธิษฐาน ศรีลานุช                                                อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ
นายธานินทร์ คงอินทร์                                          อาจารย์สาขาวิชาภาษาอังกฤษ

จัดพิมพ์
นางสาววาสนา จันทลักษณ์                                     นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

ออกแบบปก
นายภาคิน แจ้งกิจ                                               นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น